วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Diary Note 24 October 2015

DIARY NOTE NO.12



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)


เพื่อนนำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู

  1. โทรทัศน์ครู เรื่องการสอนที่เน้นธรรมชาติรอบตัว
  2. วิจัย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์




Learning Media (สื่อการเรียนรู้)


  1. โทรทัศน์ครู
  2. วิจัย




The skills (ทักษะ)


  1. ได้ทักษะการฟัง
  2. ทักษะการจดบันทึก
  3. ทักษะการคิดวิเคราะห์
  4. ทักษะการจับใจความ






Applications (การประยุกต์ใช้งาน)



ข้อมูลจากวิจัยและโทรทัศน์ครูถือเป็นข้อมูลที่เป็นตัวอย่างที่สามารถนำไปใช้กับเด็กอนุบาลได้เป็นอย่างดีเพราะงานเหล่านี้คืองานที่จัดทำขึ้นเพื่อเด็กปฐมวัยโดยเฉพาะ






The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)

แม้จะเรียนกันมาหลายอาทิตย์แล้วแต่เพื่อนๆก็ยังคงมีความตั้งใจและใส่ใจต่อการเรียนเป็นอย่างมากแม้จะคุยกันบ้าง




Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


อาจารย์จะคอยช่วยในการตั้งคำถาม จะช่วยกระตุ้นในการใช้ความคิดของนักศึกษา แม้คำถามของอาจารย์บางคำถามจะดูยากเกินจัคิดหาคำถามได้อาจารย์ก็จะคอยใบ้ช่วยยกตัวอย่างจนนักศึกษาหาคำตอบจนได้




วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Diary Note 17 October 2015

DIARY NOTE NO.11



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)

  1. ในวันนี้มีการทำ cooking ต่อ ในวันนี้ก็ได้ทำ
  2. บลูเบอร์รี่ชีสพาย
  3. บัวลอบ
  4. ไอติม              






ขนมบลูเบอรรี่ชีสพาย






การทำบัวลอย





การทำบลูเบอรรี่ชีสพาย



กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มี 4 ขั้นคือ 

  1. กำหนดประเด็นปัญหา
  2. ตั้งสมมติฐาน
  3. รวบรวมข้อมูล
  4. สรุปผล


Learning Media (สื่อการเรียนรู้)

  1. บลูเบอร์รี่ชีสพาย
  2. บัวลอบ
  3. ไอติม




The skills (ทักษะ)


  1. ได้ทักษะจากการลงมือกระทำด้วยตนเอง
  2. ได้ทักษะในการแก้ปัญหา
  3. ได้ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (การแบ่งปัน)





Applications (การประยุกต์ใช้งาน)


สามารถนำการทำขนมไปใช้กับเด็กได้เพราะการทำขนมเป็นสิ่งที่เด็กๆชอบอยู่แล้วและเมื่อสอนครูก็สามารถนำไปเข้ากับเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ได้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของสิ่งของเป็นต้น




The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)


เพื่อนๆมีการเตรียมความพร้อมของกลุ่มที่ทำการทดลองมาพอสมควร ทุกคนสนใจและร่วมมือในการทำขนมเป็นอย่างมากเพราะเป็นของกินเพื่อนๆเลยชอบเป็นพิเศษ



Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


อาจารย์เป็นผู้เตรียมอุกรณ์ส่วนใหญ่มาให้ และคอยให้คำแนะนำในการทำขนมและเมื่อทำไปอาจารย์ก็จะมีการให้ความรู้ไปด้วย และอาจารย์ยังคอยช่วยในการแก้ปัญหาด้วย


Diary Note 10 October 2015

DIARY NOTE NO.10



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)


  1. ในวันนี้จะมีการทำ cooking
  2. ให้กลุ่มทาโกยากิและวาฟเฟิลเตรียมอุปกรณ์
  3. แบ่งเพื่อนๆออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อทำข้าวทาโกยากิและวาฟเฟิล
  4. สลับกลุ่มๆให้เพื่อนได้ทำทั้ง 2 อย่าง
  5. นำแผน cooking และแผนการทดลองมาตรวจพร้อมแก้ไขให้ถูกต้อง




ขนมวาฟเฟิล



 ข้าวทาโกยากิ



 แผนการทดลอง







Learning Media (สื่อการเรียนรู้)


  1. ข้าวทาโกยากิ
  2. วาฟเฟิล
  3. แผน cooking
  4. แผนการทดลอง





The skills (ทักษะ)



  1. การคิด
  2. การตัดสินใจ
  3. การลงมือกระทำ
  4. การแก้ไขปัญหา






Applications (การประยุกต์ใช้งาน)


สามารถนำการทำอาหารไปใช้กับเด็กได้เพราะการทำอาหารและขนมเป็นสิ่งที่เด็กๆชอบอยู่แล้วและเมื่อสอนครูก็สามารถนำไปเข้ากับเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ได้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของสิ่งของเป็นต้น






The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)


เพื่อนๆมีการเตรียมความพร้อมของกลุ่มที่ทำการทดลองมาพอสมควร ทุกคนสนใจและร่วมมือในการทำข้าวและขนมเป็นอย่างมากเพราะเป็นของกินเพื่อนๆเลยชอบเป็นพิเศษ




Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


อาจารย์เป็นผู้เตรียมอุกรณ์ส่วนใหญ่มาให้ และคอยให้คำแนะนำในการทำข้าวและขนมและเมื่อทำไปอาจารย์ก็จะมีการให้ความรู้ไปด้วย


Diary Note 27 October 2015

DIARY NOTE NO.9



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)


1. สอนเรื่องคุณสมบัติของน้ำ


        
 -แบ่งกลุ่มทำการทดลอง:นำดอกไม้มาลอยน้ำสังเกตการเปลี่ยนแปลงการจม            

         -นำน้ำมาใส่ขวดสังเกตดูแรงดันน้ำว่ารูในไหนใน 3 รูจะมีแรงดันน้ำเยอะที่สุด ผลสรุปว่ารูด้านล่างสุดมีระยะแรงดันเยอะที่สุดเพราะระยะของแรงดันเยอะที่สุด             

         -การทดลองอากาศดันน้ำทำให้เกิดน้ำพุ เพราะน้ำไหลลงสู่ที่ต่ำยิ่งต้นน้ำอยู่สูงเพียงใดระยะของน้ำพุก็จะยิ่งสูงขึ้นไปอีก

2. ทำของเล่นจากกระดาษแผ่นเดียวคล้ายลูกยาง
3. สอนเรื่องแสง แสงสะท้อนได้ก็ต่อเมื่อวัตถุมันวาวเรียบโดยการนำกระจกมาสาธิตให้ดู
4. นำของเล่นชิ้นอื่นๆออกมาให้ดู


สังเกตดูว่าน้ำรูใดไปไกลกว่ากัน



การลอยน้ำของดอกไม้





น้ำพุ



Learning Media (สื่อการเรียนรู้)


  1. การทดลองเรื่องน้ำ
  2. การทดลองเรื่องแรงดันน้ำ
  3. กระดาษ
  4. ของเล่นเรื่องแสง
  5. ของเล่นชิ้นอื่นๆ





The skills (ทักษะ)


ได้ทักษะในการคิดที่จะนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กในอนาคต






Applications (การประยุกต์ใช้งาน)


สามารถนำไปสอนวิทยาศาสตร์กับเด็กให้เด็กสนใจและเข้าใจง่ายเพราะการทดลองในวันนี้เป็นการทดลองที่เข้าใจได้ง่ายเพราะตัวเด็กสามารถทำการทดลองเองได้







The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)


เพื่อนๆทุกคนให้ความร่วมมือและให้ความสนใจกับสื่อการทดลองที่อาจารย์นำมาเป็นอย่างมาก





Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


อาจารย์มีการนำสื่อที่หลากหลายมาสอนมาให้ดู และสื่อบางชนิดเป็นสื่อที่คิดไม่ถึงว่าจะสามารถนำมาทำการทดลองได้ แต่เมื่อนำมาทำการทดลองก็สามารถทำการทดลองที่สามารถเข้าใจได้ง่ายๆ


Diary Note 20 October 2015

DIARY NOTE NO.8



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)



  1. เพื่อนนำเสนอบทความและวิจัย
  2. เพื่อนนำเสนอ 4 กลุ่มการเรียนรู้
  3. มอบหมายงาน cooking





การทดลองเรื่องธรรมชาติรอบตัวเรื่อง  ดิน





Learning Media (สื่อการเรียนรู้)


  1. บทความ 
  2. วิจัย
  3. 4 กลุ่มการเรียนรู้






The skills (ทักษะ)


  1. ทักษะหน้าชั้นเรียนในการนำเสนอวิจัยและบทความ
  2. ทักษะการฟังเพื่อสรุปวิจัยและบทความ






Applications (การประยุกต์ใช้งาน)


ในการฟังวิจัยและบทความที่เพื่อนได้นำมาในวันนี้ล้วนแต่เป็นบทความและวิจัยที่สามารถนำไปใช้จริงในชีวิตประจำได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ 4 กลุ่มการเรียนรู้ก็ยังมีประโยชน์อย่างสูงที่ได้เรียนรู้







The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)


เพื่อนๆยังคุยกันบ้างเป็นเรื่องที่ปกติแต่ทุกคนก็มีการเตรียมความพร้อมมาอย่างดีในการเรียน





Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


อาจารย์คอยตั้งคำถามและคอยให้ความรู้ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับวิจัย บทความ และ 4 กลุ่มการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจนและเข้าใจได้ง่ายค่ะเป็นความรู้ที่ฟังแล้วเข้าใจง่ายไม่งง



Diary Note 13 October 2015

DIARY NOTE NO.7



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)


  1. เลขที่5 นำเสนอ วิจัยเรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  2. เลขที่ 7 8 9 เสนอโทรทัศน์ครู
  3. นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ เรื่องเสียง (กลองแขก)
  4. นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ เรื่องเสียง (ปี่กระบอง)
  5. นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ เรื่องเสียง (แตร)
  6. นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงาน (ธนูไม้ไอติม)
  7. นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงดึงดูด (วัวน้อยโยกเยก)






Learning Media (สื่อการเรียนรู้)



  1. กลองแขก
  2. ปี่กระบอง
  3. แตร
  4. ธนูไม้ไอติม
  5. วัวน้อยโยกเยก







The skills (ทักษะ)



ได้เห็นทักษะของเพื่อนๆในการนำเสนอชิ้นงานเห็นการตอบปัญหากับอาจารย์






Applications (การประยุกต์ใช้งาน)



คิดว่าความคิดของเพื่อนบางคนเอาไปต่อยอดความคิดของตัว
ข้าพเจ้าได้เป็นอย่างมาก






The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)


เพื่อนๆมีการเตรียมในการเตรียมความพร้อมที่จะเสนอชิ้นงานเป็นอย่างมาก





Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)



อาจารย์มีการตั้งคำถามให้เด็กได้ใช้ความคิดเป็นการตั้งคำถามที่กระตุ้นความคิดเป็นอย่างมาก


Diary Note 6 October 2015

DIARY NOTE NO.6



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)

  1.  Friend เสนอ research
  2. Friend นำเสนอสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์






มายากล ขวดไหนมีน้ำ




Learning Media (สื่อการเรียนรู้)


  1. สิ่งประดิษฐ์






The skills (ทักษะ)



  1. การฟัง 
  2. การตั้งคำถาม
  3. การเก็บรายละเอียดงาน
  4. การดู





Applications (การประยุกต์ใช้งาน)


เมื่อไปสอนเด็กการจัดกิจกรรมโดยเด็กเป็นผู้ได้ลงมือกระทำเองนั้นถือว่าเป็นกิจกรรมที่จำเป็นมากและงานปรดิษฐ์ก็เป็นงานที่เด็กชอบอยู่แล้วจึงเป็นข้อดีมากที่จะนำไปใช้





The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)



เพื่อนๆให้ความสนใจกับงานประดิษฐ์ของตนเองและของคนอื่น




Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


 มีการใช้คำถามที่กระตุ้นตวามคิดเกี่ยวกับสิ่งของประดิษฐ์

Diary Note 15 September 2015

DIARY NOTE NO.5



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)

1. แจก paper  write "การทำงานของสมอง"
2. วิธีการเรียนรู้ของเด็ก คือ Playing ผ่านประสบการณ์จริง จากสัมผัสทั้ง 5 เป็นการเล่นที่เด็กเป็นผู้เลือกเอง
3. ทบทวนหลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก นักการศึกษา/หลักการแนวคิด
   3.1 กีเซล เชื่อว่า พัฒนาการเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนการเรียนรู้เกิดจากการเคลื่อนไหว                            

  -การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก

          3.1.1 จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
          3.1.2 ให้เด็กได้เล่นกลางแจ้ง
          3.1.3 จัดกิจกรรมสร้างสรรค์
          3.1.4  จัดให้เด็กทำกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม

   3.2 ฟรอยด์ เชื่อว่า ประสบการณ์ของเด็กจะส่งเสริมบุคลิกภาพเมื่อเติบโต หากเด็กไม่ได้เรียนรู้ การตอบสนองอย่างพอเพียงจะเกิดอาการชะงัก
        

 -การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
           3.2.1 ครูเป็นแบบอย่างที่ดี
           3.2.2 กิจกรรมเป็นขั้นตอนจากง่ายไปยาก
           3.2.3 สิ่งแวดล้อมเป็นตัวส่งเสริมพัฒนาการ

    3.3 อิริคสัน เชื่อว่า ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจประสบผลสำเร็จมีความมั่นใจและไว้วางใจผู้อื่นมองโลกในแง่ดี            

-การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก            

            3.3.1 จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ           

            3.3.2  จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาศสร้างปฏิสัมพัรธ์ที่ดีต่อสถาพแวดล้อมและเพื่อนๆ


4.  การเรียนอย่าง happy   

            4.1 การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง   

           4.2 การเรียนรู้แบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง4 ด้าน


5. แนวคิดพื้นฐานทาง science    

     5.1 การเปลี่ยนแปลง  (change)  

     5.2 ความแตกต่าง  (difference)   

     5.3 การปรับตัว   (Adaptation)  

     5.4 การพึงพาอาศัย   (Reliance Power Homes)   

     5.5 ความสมดุล  (balance)

 

6.  การศึกษาวิธีการทาง  science     

     6.1 ขั้นกำหนดปัญหา   

     6.2 ขั้นตั้งสมมุติฐาน   

     6.3 ขั้นรวบรวมข้อมูล    

      6.4 สรุป


7. เจตคติทาง science    

      7.1 ความอยากรู้อยากเห็น   

      7.2 ความเพียรพยายาม    

      7.3 มีเหตุผล     

      7.4 ความซื่อสัตย์     

      7.5 ความมีระเบียบและรอบคอบ    

      7.6 ความใจกว้าง

เพื่อนนำเสนอบทความเลขที่1 บทความเรื่อง science สำหรับเด็กปฐมวัยเลขที่ 2 บทความเรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเลขที่ 3 บทความเรื่อง แนวทางการสอนคิดscience     







The skills (ทักษะ)


  1. การคิด
  2. การจดบันทึก
  3. การจดจำรายละเอียดของงาน






Applications (การประยุกต์ใช้งาน)


สามารถนำไปจัดให้กับเด็กเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ครบทั้ง 4 ด้านอย่างเหมาะสมกับวัยของเด็ก






The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)


my friend มีความตั้งใจในการเรียนแม้จะยังคงพูดคุยกันบ้างแต่เมื่อต้องเข้าเนื้อหาก็สนใจค่ะ






Teacher Evaluation (การประเมินผลครู)


อาจารย์มีการตั้งคำถามเพื่อที่จะดึงความรู้ในตัวนักศึกษาทุกคนออกมาอย่างเต็มที่จนบางครั้งก้ไม่รูู้ว่าคำตอบควรจะเป็นอะไรดี ฝึกการคิดกระตุ้นการคิดดีเหมือนกันค่ะ