วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary Note 25 August 201

Diary Note No.2



Learning Content  (เนื้อหาการเรียนรู้)

พัฒนาการทางสติปัญญา  (Cognitive development)           
         หมายถึง  ความเจริญงอกงามด้านความสามารถ ทางภาษา และการคิดของแต่ละบุคคล

พัฒนาขึ้นมาจากการมีปฏิสัมพันธ์  interaction  กับสิ่งแวดล้อม

          - เริ่มต้นตั้งแต่เกิดผลของการมีปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จักตนเอง (self)  เพราะตอนเเรกเด็กจะยังไม่สามารถแยก "ตน" ออกจากสิ่งแวดล้อมได้   
          - การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม  เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดชีวิตทั้งนี้เพื่อให้เกิดการสมดุล  (equilibrium)   
          - การมีปฏิสัมพัธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนเเปลงคลอดเวลาเพื่อให้เกิดการสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม


กระบวนการปฏิสัมพันธ์  ( interaction)  ประกอบด้วย  2  กระบวนการ


1)การดูดซึม  (assimilation) 

    fitting a new experience into an exisiting mantal structure (schema)
    - เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่เข้าอยู่ในโครงสร้างสติปัญญา      
2)กระบวนการโครงสร้าง (accommodation)
    revising an exisiting schema because of new experienee.
    - การปรับเปลี่ยนโครงสร้างของเชาว์ปัญญาที่มีอยู่แล้วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่
    - การปรับตัวเข้าสู้สภาวะสมดุลระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม
    Equflibrium seeking cognitive stability through assimilation and accomodation.
    - การดูดซึมเพื่อรับประสบการณ์ใหม่
    - การปรับโครงสร้างเป็นการปรับโครงสร้างความคิดเดิมให้สอดคล้องให้เหมาะสมกับแระสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ
    - การปรับแนวคิดและพฤติกรรมจะทำให้เกิดภาวะสมดุล


Learning Media (สื่อการเรียนรู้)

1. computer


The skills (ทักษะ)

1. ได้ทักษะการตอบคำถาม  

2.  การสอนแบบถามตอบช่วยผู้เรียน


Applications (การประยุกต์ใช้งาน)

การนำไปใช้สำหรับวิทยาศาสตร์ได้นำเอาไปประยุกต์ใช้ได้หลายกิจกรรม ทำให้กิจกรรมที่สอนไม่น่าเบื่อเราะวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่น่าตื่นเต้น


The atmosphere in the classroom (บรรยากาศในห้องเรียน)

Learn more friends เพื่อนๆที่มาก็ตั้งใจเป็นอย่างมาก ร่วมกันช่วยตอบคำถามอย่างสนุกสนาน



teacher Evaluation (การประเมินผลครู)

teacher มีความพร้อมในการสอนอย่างเต็มที่  มีการช่วยเน้นในการสอนอย่างชัดเจนจนนักศึกษาเข้าใจอย่างชัดเจน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น